แบบเรียนตัทธิต

ตัทธิต แปลว่าปัจจัยแทนศัพท์

ชื่อตัทธิต ความหมาย ปัจจัย
สามัญญตัทธิต      
โคตตตัทธิต แปลว่า ปัจจัยแทน โคตฺต ศัพท์ ( อปจฺจ ) ณ ,ณายน ,ณาน ,เณยฺย , ณิ , ณิก , ณว , เณร
ตรัตยาทิตัทธิต แปลว่า ปัจจัยแทน ตรติ ศัพท์เป็นต้น ณิก
ราคาทิตัทธิต แปลว่า ปัจจัยแทน ราค ศัพท์เป็นต้น
ชาตาทิตัทธิต แปลว่า ปัจจัยแทน ชาต ศัพท์เป็นต้น อิม ,อิย ,กิย
สมุหตัทธิต แปลว่า ปัจจัยแทน สมุห ศัพท์ กณ , ณ , ตา
ฐานตัทธิต แปลว่า ปัจจัยแทน ฐาน ศัพท์ อีย ( ฐาน / อรหติ / หิต / ภว ) เอยฺย ( อรหติ )
พหุลตัทธิต แปลว่า ปัจจัยแทน พหุล ศัพท์ ( และปกติ ) อาลุ
เสฏฺฐตัทธิต แปลว่า ปัจจัยแทน เสฏฺฐ ศัพท์ ตร ,อิย ,อิยิสฺสก ( วิเสเสน กว่า )
      ตม , อิฏฺฐ ( อติวิเสเสน ที่สุด )
ตทัสสัตถิตัทธิต แปลว่า ปัจจัยแทน ตํ อสฺส อตฺถิ ศัพท์ วี , ส ,สี , อิก , อี , ร , วนฺตุ , มนฺตุ , ณ
ปกติตัทธิต แปลว่า ปัจจัยแทน ปกต ศัพท์ ( และวิการ ) มย
สังขยาตัทธิต แปลว่า ปัจจัยแทน สังขยา ศัพท์ ( ปริมาณ )
ปูรณตัทธิต แปลว่า ปัจจัยแทน ปูรณ ศัพท์ ตย , ถ , ฐ , ม , อี
วิภาคตัทธิต แปลว่า ปัจจัยแทน วิภาค ศัพท์ ธา ( โดยส่วน ) , โส ( โดยการจำแนก )
ภาวตัทธิต แปลว่า ปัจจัยแทน ภาว ศัพท์ ตฺต , ณฺย , ตฺตณ , ตา , ณ , กณฺ
อัพยยตัทธิต แปลว่า ปัจจัยที่สำเร็จเป็นอัพยยศัพท์ แทน ปการ ศัพท์ ถา ( ใช้กับ สรรพนาม ย เป็นต้น )
      ถํ ( ลงได้เฉพาะ กึ และ อิม เท่านั้น )

 

หมายเหตุ ณ ปัจจัย    
  มีหลักเกณฑ์ดังนี้  
  ถ้าสระอยู่หน้าศัพท์เป็นรัสสะล้วนไม่มีพยัญชนะสังโยคอยู่เบื้องหลัง  
  ต้องพฤทธิ์ คือ    
  1 ทีฆะ อ เป็น อา  
  2 วิการ อิ , อี เป็น เอ  
  3 พฤทธิ์ อุ เป็น โอ  
  เว้นไว้แต่สระที่อยู่หน้าศัพท์เป็นรัสสะ มีพยัญชนะสังโยคอยู่เบื้องหลัง หรือเป็นทีฆะไม่ต้องพฤทธิ์
  และพยัญชนะคือ ณ นั้น ต้องลบเสีย คงไว้แต่สระที่ ณ อาศัยอยู่และพยัญชนะอื่นๆ

 

ศัพท์ ปัจจัย ตัทธิต วิเคราะห์ คำแปล
พาลฺยํ ณฺย ภาวตัทธิต พาลสฺส ภาโว พาลฺยํ ความเป็นแห่งคนพาล
ปาหุเนยฺโย เอยฺย ฐานตัทธิต ปาหุนํ อรหตีติ ปาหุเนยฺโย ผู้ควรซึ่งของต้อนรับ
กายิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต กาเยน วตฺตีติ กายิโก เป็นไปในกาย
พลวตี วนฺตุ ตทัสสัตถิตัทธิต พลํ อสฺสา อตฺถีติ พลวตี ผู้มีกำลัง
อิทฺธิมยํ มย ปกติตัทธิต อิทฺธิยา ปกตํ อิทฺธิมยํ อันทำแล้วด้วยฤทธิ์
เปตฺติกํ ณิก ตรัตยาทิตัทธิต ปิตุโน สนฺติกํ เปตฺติกํ อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา
การุญฺญํ ณฺย ภาวตัทธิต กรุณาย ภาโว การุญฺญํ ความเป็นแห่งความกรุณา
นาครตา ราคาทิตัทธิต นคเร วสนฺตีติ นาครา ผู้อยู่ในนคร
  ตา สมุหตัทธิต นาครานํ สมุโห นาครตา ประชุมแห่งชนผู้อยู่ในนคร
  ตา ภาวตัทธิต นาครานํ ภาโว นาครตา ความเป็นแห่งชาวนคร
มุฏฺฐสจฺจํ ณฺย ภาวตัทธิต มุฏฺฐสติสฺส ภาโว มุฏฺฐสจฺจํ ความเป็นแห่งคนผู้มีสติอันหลงลืมแล้ว
อาธิปฺปจฺจํ ณฺย ภาวตัทธิต อธิปติสฺส ภาโว อาธิปฺปจฺจํ ความเป็นแห่งอธิบดี
ปํสุกูลิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต ปํสุกูลํ ธาเรตีติ ปํสุกูลิโก ผู้ทรงไว้ซึ่งผ้าบังสุกุล
เวริโน อี ตทัสสัตถิตัทธิต เวรํ เตสํ อตฺถีติ เวริโน ผู้มีเวร
เตปิฏโก ราคาทิตัทธิต เตปิฏกํ ธาเรตีติ เตปิฏโก ผู้ทรงไว้ซี่งปิฏกสาม
เวกลฺลํ ณฺย ภาวตัทธิต วิกลสฺส ภาโว เวกลฺลํ ความเป็นแห่งผู้วิกล
อาปายิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต อปาเย นิพตฺโต อาปายิโก ผู้บังเกิดในอบาย
เถยฺยํ ณฺย / เณยฺย ภาวตัทธิต เถนสฺส ภาโว เถยฺยํ ความเป็นแห่งขโมย
คพฺภินี อี ตทัสสัตถิตัทธิต คพฺโภ อสฺสา อตฺถีติ คพฺภินี ผู้มีครรภ์
สมฺมาทิฏฺฐิโก อิก ตทัสสัตถิตัทธิต สมฺมาทิฏฺฐิ อสฺส อตฺถีติ สมฺมาทิฏฺฐิโก ผู้มีสมฺมาทิฏฺฐิ
  ณิก ตรัตยาทิตัทธิต สมฺมาทิฏฺฐิยา นิยุตฺโต สมฺมาทิฏฺฐิโก ผู้ประกอบลงด้วยสัมมาทิฏฐิ
ทกฺขิเณยฺโย เอยฺย ฐานตัทธิต ทกฺขิณํ อรหตีติ ทกฺขิเณยฺโย ผู้ควรซึ่งทักษิณา
      ทกฺขิณาย อนุจฺฉวิโก โหตีติ ทกฺขิเณยฺโย  
วสิตฺตํ อี ตทัสสัตถิตัทธิต วโส อสฺส อตฺถีติ วสี ผู้มีอำนาจ
  ตฺต ภาวตัทธิต วสิสฺส ภาโว วสิตฺตํ ความเป็นแห่งผู้มีอำนาจ
ภควา วนฺตุ ตทัสสัตถิตัทธิต ภคา อสฺส อตฺถีติ ภควา ผู้มีโชค
รชฺชํ ณฺย ภาวตัทธิต รญฺโญ ภาโว รชฺชํ ความเป็นแห่งพระราชา
โกสชฺชํ ณฺย ภาวตัทธิต กุสีทสฺส ภาโว โกสชฺชํ ความเป็นแห่งคนเกียจคร้าน
มาคธิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต มคเธ ชาโต มาคธิโก ผู้เกิดในเมืองมคธ
      มคเธ วสตีติ มาคธิโก ผู้อยู่ในเมืองมคธ
อาโรคฺยํ ณฺย ภาวตัทธิต อโรคสฺส ภาโว อาโรคฺยํ ความเป็นแห่งผู้ไม่มีโรค
เจตสิกํ ณิก ตรัตยาทิตัทธิต เจตสา กตํ กมฺมํ เจตสิกํ กรรมอันทำโดยใจ
      เจตสิ วตฺตตีติ เจตสิกํ อันเป็นไปในใจ
ภาควา วนฺตุ ตทัสสัตถิตัทธิต ภาโค อสฺส อตฺถีติ ภาควา ผู้มีส่วน
ภาคฺยํ ตทัสสัตถิตัทธิต ภคา อสฺส อตฺถีติ ภาโค ผู้มีส่วน
  ณฺย ภาวตัทธิต ภาคสฺส ภาโว ภาคฺยํ ความเป็นแห่งผู้มีส่วน
สุขินี อี ตทัสสัตถิตัทธิต สุขมสฺสา อตฺถีติ สุขินี ผู้มีสุข
ปารมี ราคาทิตัทธิต ปรมํ ปาเปตีติ ปารมี  
      ปรมาย อตฺถาย หิตาย สุขาย สํวตฺตตีติ ปารมี  
พลี อี ตทัสสัตถิตัทธิต พลมสฺส อตฺถีติ พลี ผู้มีกำลัง
อาลฺสิยํ ณิย ภาวตัทธิต อลสสฺส ภาโว อาลสิยํ ความเป็นแห่งชนผู้เกียจคร้าน
มาคโธ ราคาทิตัทธิต มคเธ ชาโต มาคโธ ผู้เกิดในเมืองมคธ
      มคเธ วสตีติ มาคโธ ผู้อยู่ในเมืองมคธ
ทลิทฺทตา ตา ภาวตัทธิต ทลิทฺทสฺส ภาโว ทลิทฺทตา ความเป็นแห่งคนขัดสน
ราชคหิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต ราชคเห ชาโต ราชคหิโก ผู้เกิดในเมืองราชคฤห์
สามญฺญํ ณฺย ภาวตัทธิต สมณสฺส ภาโว สามญฺญํ ความเป็นแห่งสมณะ
      สมานสฺส ภาโว สามญฺญํ ความเป็นแห่งชนผู้เสมอกัน
ทณฺฑิตฺตํ อี ตทัสสัตถิตัทธิต ทณฺโฑ อสฺส อตฺถีติ ทณฺฑี ผุ้มีไม้เท้า
  ตฺต ภาวตัทธิต ทณฺฑิโน ภาโว ทณฺฑิตฺตํ ความเป็นแห่งคนมีไม้เท้า
คพฺโภ ราคาทิตัทธิต คพฺเภ นิพฺพตฺโต คพฺโภ ผู้บังเกิดแล้วในครรภ์
อทฺธิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต อทฺธานํ ปฏิปชฺชตีติ อทฺธิโก ผู้ดำเนินสู่หนทางไกล
ชานปทา ราคาทิตัทธิต ชนปเท วสนฺตีติ ชานปทา ผู้อยู่ในชนบท
สีลวา วนฺตุ ตทัสสัตถิตัทธิต สีลํ อสฺส อตฺถีติ สีลวา ผู้มีศีล
เวรี อี ตทัสสัตถิตัทธิต เวรํ อสฺส อตฺถีติ เวรี ผู้มีเวร
พาหุสจฺจํ ณฺย ภาวตัทธิต พหุสุตสฺส ภาโว พาหุสจฺจํ ความเป็นแห่งชนผู้มีสุตะมาก
อญฺชลิกรณีโย อีย ฐานตัทธิต อญฺชลิกรณํ อรหตีติ อญฺชลิกรณีโย ผู้ควรซึ่งการกระทำอัญชลี
อตฺถิโก อิก ตทัสสัตถิตัทธิต อตฺโถ อสฺส อตฺถีติ อตฺถิโก ผู้มีความต้องการ
โกสลฺลํ ณฺย ภาวตัทธิต กุสลสฺส ภาโว โกสลฺลํ ความเป็นแห่งคนฉลาด
อิสฺสริยํ ณิย ภาวตัทธิต อิสฺสรสฺส ภาโว อิสฺสริยํ ความเป็นแห่งชนผู้เป็นใหญ่
รุกฺขมูลิกา ณิก ตรัตยาทิตัทธิต รุกฺขมูเล วสนฺตีติ รุกฺขมูลิกา ผู้อยุ่ที่โคนไม้
มานโส ราคาทิตัทธิต มนสิ ภโว มานโส ผู้มีในใจ
  ตทัสสัตถิตัทธิต มานสํ อสฺส อตฺถีติ มานโส ผู้มีมานัส ( ใจ )
  โส วิภาคตัทธิต มาเนน วิภาเคน มานโส โดยความจำแนกด้วยใจ
ปาสาทิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต ปสาทํ ชเนตีติ ปาสาทิโก ผู้ยังความเลื่อมใสให้เกิด
ลาภี อี ตทัสสัตถิตัทธิต ลาโภ อสฺส อตฺถีติ ลาภี ผู้มีลาภ
กุฏุมฺภิโก อิก ตทัสสัตถิตัทธิต กุฏุมฺพํ อสฺส อตฺถีติ กุฏุมฺพิโก ผู้มีขุมทรัพย์
จนฺทนมโย มย ปกติตัทธิต จนฺทเนน ปกโต จนฺทนมโย อันทำแล้วด้วยไม้จันทน์
      จนฺทนสฺส วิกาโร จนฺทนมโย อันเป็นวิการแห่งไม้จันทน์
อุโปสถิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต อุโปสถํ สมาทิยตีติ อุโปสถิโก ผู้สมาทานอุโบสถ
จนฺทตฺตํ ตฺต ภาวตัทธิต จนฺทสฺส ภาโว จนฺทตฺตํ ความเป็นแห่งพระจันทร์
พาลิสิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต พลิเสน มจฺเฉ คณฺหาตีติ พาลิสิโก ผู้จับปลาด้วยเบ็ด
ปาปิมา อิมนฺตุ ตทัสสัตถิตัทธิต ปาปํ อสฺส อตฺถีติ ปาปิมา ผู้มีบาป
พลวา วนฺตุ ตทัสสัตถิตัทธิต พลํ อสฺส อตฺถีติ พลวา ผู้มีกำลัง
ปณฺณรสี อี ปูรณตัทธิต ปณฺณรสนฺนํ ปูรณี ปณฺณรสี ที่สิบห้า
เหรญฺญิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต หิรญฺเญ นิยุตฺโต เหรญฺญิโก ผู้ประกอบในเงิน
อฏฺฐโม ปูรณตัทธิต อฏฺฐนฺนํ ปูรโณ อฏฺฐโม ที่แปด
อรหตฺตํ ตฺต ภาวตัทธิต อรหโต ภาโว อรหตฺตํ ความเป็นแห่งพระอรหันต์
โสกินี อี ตทัสสัตถิตัทธิต โสโก อสฺส อตฺถีติ โสกินี ผู้มีความโศก
โกสมฺพิกา ณิก ตรัตยาทิตัทธิต โกสมฺพิยํ วสนฺตีติ โกสมฺพิกา ผู้อยุ่ในเมืองโกสัมพี

 

เติมคำในช่องว่าง

ศัพท์ ปัจจัย ตัทธิต วิเคราะห์ คำแปล
พาลฺยํ ณฺย ภาวตัทธิต พาลสฺส ภาโว พาลฺยํ ความเป็นแห่งคนพาล
ปาหุเนยฺโย เอยฺย ฐานตัทธิต ปาหุนํ อรหตีติ ปาหุเนยฺโย  
กายิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต กาเยน วตฺตีติ กายิโก เป็นไปในกาย
พลวตี วนฺตุ ตทัสสัตถิตัทธิต พลํ อสฺสา อตฺถีติ พลวตี ผู้มีกำลัง
อิทฺธิมยํ มย ปกติตัทธิต อิทฺธิยา ปกตํ อิทฺธิมยํ อันทำแล้วด้วยฤทธิ์
เปตฺติกํ ณิก ตรัตยาทิตัทธิต ปิตุโน สนฺติกํ เปตฺติกํ อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา
การุญฺญํ ณฺย ภาวตัทธิต กรุณาย ภาโว การุญฺญํ ความเป็นแห่งความกรุณา
นาครตา ราคาทิตัทธิต นคเร วสนฺตีติ นาครา ผู้อยู่ในนคร
  ตา สมุหตัทธิต นาครานํ สมุโห นาครตา ประชุมแห่งชนผู้อยู่ในนคร
  ตา ภาวตัทธิต นาครานํ ภาโว นาครตา ความเป็นแห่งชาวนคร
มุฏฺฐสจฺจํ ณฺย ภาวตัทธิต มุฏฺฐสติสฺส ภาโว มุฏฺฐสจฺจํ ความเป็นแห่งคนผู้มีสติอันหลงลืมแล้ว
อาธิปฺปจฺจํ ณฺย ภาวตัทธิต อธิปติสฺส ภาโว อาธิปฺปจฺจํ ความเป็นแห่งอธิบดี
ปํสุกูลิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต ปํสุกูลํ ธาเรตีติ ปํสุกูลิโก ผู้ทรงไว้ซึ่งผ้าบังสุกุล
เวริโน อี ตทัสสัตถิตัทธิต เวรํ เตสํ อตฺถีติ เวริโน ผู้มีเวร
เตปิฏโก ราคาทิตัทธิต เตปิฏกํ ธาเรตีติ เตปิฏโก ผู้ทรงไว้ซี่งปิฏกสาม
เวกลฺลํ ณฺย ภาวตัทธิต วิกลสฺส ภาโว เวกลฺลํ ความเป็นแห่งผู้วิกล
อาปายิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต อปาเย นิพตฺโต อาปายิโก ผู้บังเกิดในอบาย
เถยฺยํ ณฺย / เณยฺย ภาวตัทธิต เถนสฺส ภาโว เถยฺยํ ความเป็นแห่งขโมย
คพฺภินี อี ตทัสสัตถิตัทธิต คพฺโภ อสฺสา อตฺถีติ คพฺภินี ผู้มีครรภ์
สมฺมาทิฏฺฐิโก อิก ตทัสสัตถิตัทธิต สมฺมาทิฏฺฐิ อสฺส อตฺถีติ สมฺมาทิฏฺฐิโก ผู้มีสมฺมาทิฏฺฐิ
  ณิก ตรัตยาทิตัทธิต สมฺมาทิฏฺฐิยา นิยุตฺโต สมฺมาทิฏฺฐิโก ผู้ประกอบลงด้วยสัมมาทิฏฐิ
ทกฺขิเณยฺโย เอยฺย ฐานตัทธิต ทกฺขิณํ อรหตีติ ทกฺขิเณยฺโย ผู้ควรซึ่งทักษิณา
      ทกฺขิณาย อนุจฺฉวิโก โหตีติ ทกฺขิเณยฺโย  
วสิตฺตํ อี ตทัสสัตถิตัทธิต วโส อสฺส อตฺถีติ วสี ผู้มีอำนาจ
  ตฺต ภาวตัทธิต วสิสฺส ภาโว วสิตฺตํ ความเป็นแห่งผู้มีอำนาจ
ภควา วนฺตุ ตทัสสัตถิตัทธิต ภคา อสฺส อตฺถีติ ภควา ผู้มีโชค
รชฺชํ ณฺย ภาวตัทธิต รญฺโญ ภาโว รชฺชํ ความเป็นแห่งพระราชา
โกสชฺชํ ณฺย ภาวตัทธิต กุสีทสฺส ภาโว โกสชฺชํ ความเป็นแห่งคนเกียจคร้าน
มาคธิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต มคเธ ชาโต มาคธิโก ผู้เกิดในเมืองมคธ
      มคเธ วสตีติ มาคธิโก ผู้อยู่ในเมืองมคธ
อาโรคฺยํ ณฺย ภาวตัทธิต อโรคสฺส ภาโว อาโรคฺยํ ความเป็นแห่งผู้ไม่มีโรค
เจตสิกํ ณิก ตรัตยาทิตัทธิต เจตสา กตํ กมฺมํ เจตสิกํ กรรมอันทำโดยใจ
      เจตสิ วตฺตตีติ เจตสิกํ อันเป็นไปในใจ
ภาควา วนฺตุ ตทัสสัตถิตัทธิต ภาโค อสฺส อตฺถีติ ภาควา ผู้มีส่วน
ภาคฺยํ ตทัสสัตถิตัทธิต ภคา อสฺส อตฺถีติ ภาโค ผู้มีส่วน
  ณฺย ภาวตัทธิต ภาคสฺส ภาโว ภาคฺยํ ความเป็นแห่งผู้มีส่วน
สุขินี อี ตทัสสัตถิตัทธิต สุขมสฺสา อตฺถีติ สุขินี ผู้มีสุข
ปารมี ราคาทิตัทธิต ปรมํ ปาเปตีติ ปารมี  
      ปรมาย อตฺถาย หิตาย สุขาย สํวตฺตตีติ ปารมี  
พลี อี ตทัสสัตถิตัทธิต พลมสฺส อตฺถีติ พลี ผู้มีกำลัง
อาลฺสิยํ ณิย ภาวตัทธิต อลสสฺส ภาโว อาลสิยํ ความเป็นแห่งชนผู้เกียจคร้าน
มาคโธ ราคาทิตัทธิต มคเธ ชาโต มาคโธ ผู้เกิดในเมืองมคธ
      มคเธ วสตีติ มาคโธ ผู้อยู่ในเมืองมคธ
ทลิทฺทตา ตา ภาวตัทธิต ทลิทฺทสฺส ภาโว ทลิทฺทตา ความเป็นแห่งคนขัดสน
ราชคหิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต ราชคเห ชาโต ราชคหิโก ผู้เกิดในเมืองราชคฤห์
สามญฺญํ ณฺย ภาวตัทธิต สมณสฺส ภาโว สามญฺญํ ความเป็นแห่งสมณะ
      สมานสฺส ภาโว สามญฺญํ ความเป็นแห่งชนผู้เสมอกัน
ทณฺฑิตฺตํ อี ตทัสสัตถิตัทธิต ทณฺโฑ อสฺส อตฺถีติ ทณฺฑี ผุ้มีไม้เท้า
  ตฺต ภาวตัทธิต ทณฺฑิโน ภาโว ทณฺฑิตฺตํ ความเป็นแห่งคนมีไม้เท้า
คพฺโภ ราคาทิตัทธิต คพฺเภ นิพฺพตฺโต คพฺโภ ผู้บังเกิดแล้วในครรภ์
อทฺธิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต อทฺธานํ ปฏิปชฺชตีติ อทฺธิโก ผู้ดำเนินสู่หนทางไกล
ชานปทา ราคาทิตัทธิต ชนปเท วสนฺตีติ ชานปทา ผู้อยู่ในชนบท
สีลวา วนฺตุ ตทัสสัตถิตัทธิต สีลํ อสฺส อตฺถีติ สีลวา ผู้มีศีล
เวรี อี ตทัสสัตถิตัทธิต เวรํ อสฺส อตฺถีติ เวรี ผู้มีเวร
พาหุสจฺจํ ณฺย ภาวตัทธิต พหุสุตสฺส ภาโว พาหุสจฺจํ ความเป็นแห่งชนผู้มีสุตะมาก
อญฺชลิกรณีโย อีย ฐานตัทธิต อญฺชลิกรณํ อรหตีติ อญฺชลิกรณีโย ผู้ควรซึ่งการกระทำอัญชลี
อตฺถิโก อิก ตทัสสัตถิตัทธิต อตฺโถ อสฺส อตฺถีติ อตฺถิโก ผู้มีความต้องการ
โกสลฺลํ ณฺย ภาวตัทธิต กุสลสฺส ภาโว โกสลฺลํ ความเป็นแห่งคนฉลาด
อิสฺสริยํ ณิย ภาวตัทธิต อิสฺสรสฺส ภาโว อิสฺสริยํ ความเป็นแห่งชนผู้เป็นใหญ่
รุกฺขมูลิกา ณิก ตรัตยาทิตัทธิต รุกฺขมูเล วสนฺตีติ รุกฺขมูลิกา ผู้อยุ่ที่โคนไม้
มานโส ราคาทิตัทธิต มนสิ ภโว มานโส ผู้มีในใจ
  ตทัสสัตถิตัทธิต มานสํ อสฺส อตฺถีติ มานโส ผู้มีมานัส ( ใจ )
  โส วิภาคตัทธิต มาเนน วิภาเคน มานโส โดยความจำแนกด้วยใจ
ปาสาทิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต ปสาทํ ชเนตีติ ปาสาทิโก ผู้ยังความเลื่อมใสให้เกิด
ลาภี อี ตทัสสัตถิตัทธิต ลาโภ อสฺส อตฺถีติ ลาภี ผู้มีลาภ
กุฏุมฺภิโก อิก ตทัสสัตถิตัทธิต กุฏุมฺพํ อสฺส อตฺถีติ กุฏุมฺพิโก ผู้มีขุมทรัพย์
จนฺทนมโย มย ปกติตัทธิต จนฺทเนน ปกโต จนฺทนมโย อันทำแล้วด้วยไม้จันทน์
      จนฺทนสฺส วิกาโร จนฺทนมโย อันเป็นวิการแห่งไม้จันทน์
อุโปสถิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต อุโปสถํ สมาทิยตีติ อุโปสถิโก ผู้สมาทานอุโบสถ
จนฺทตฺตํ ตฺต ภาวตัทธิต จนฺทสฺส ภาโว จนฺทตฺตํ ความเป็นแห่งพระจันทร์
พาลิสิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต พลิเสน มจฺเฉ คณฺหาตีติ พาลิสิโก ผู้จับปลาด้วยเบ็ด
ปาปิมา อิมนฺตุ ตทัสสัตถิตัทธิต ปาปํ อสฺส อตฺถีติ ปาปิมา ผู้มีบาป
พลวา วนฺตุ ตทัสสัตถิตัทธิต พลํ อสฺส อตฺถีติ พลวา ผู้มีกำลัง
ปณฺณรสี อี ปูรณตัทธิต ปณฺณรสนฺนํ ปูรณี ปณฺณรสี ที่สิบห้า
เหรญฺญิโก ณิก ตรัตยาทิตัทธิต หิรญฺเญ นิยุตฺโต เหรญฺญิโก ผู้ประกอบในเงิน
อฏฺฐโม ปูรณตัทธิต อฏฺฐนฺนํ ปูรโณ อฏฺฐโม ที่แปด
อรหตฺตํ ตฺต ภาวตัทธิต อรหโต ภาโว อรหตฺตํ ความเป็นแห่งพระอรหันต์
โสกินี อี ตทัสสัตถิตัทธิต โสโก อสฺส อตฺถีติ โสกินี ผู้มีความโศก
โกสมฺพิกา ณิก ตรัตยาทิตัทธิต โกสมฺพิยํ วสนฺตีติ โกสมฺพิกา ผู้อยุ่ในเมืองโกสัมพี

 

หลักคิด  
ในการวิเคราะห์ศัพท์
   
ตัทธิต  
1 แปล
2 แยกศัพท์กับปัจจัยออกจากกัน
3 กำหนดว่าเป็นปัจจัยอะไรในตัทธิตอะไร โดยกำหนดจากคำแปลว่าตรงกับคำแปลในตัทธิตไหน
4 วิเคราะห์ศัพท์โดยการเทียบเคียงแบบ ( เว้น ตรัตยา ราคา ชาตา ที่ต้องอาศัยคำแปลเป็นตัวเทียบเคียงในการวิเคราะห์ )
   
สมาสท้อง  
1 แปล
2 แยกศัพท์ออกจากกัน
3 จับคู่ศัพท์ที่สมาสกัน
4 กำหนดศัพท์ที่สมาสกันว่าเป็นสมาสอะไรโดยดูจากคำแปลว่าบ่งถึงสมาสอะไร
5 วิเคราะห์เทียบเคียงกับสมาสที่กำหนดไว้
6 วิเคราะห์ศัพท์ที่จับคู่ไว้ให้ครบตามลำดับจนถึงคู่สุดท้าย
7 เรียกชื่อสมาส โดยเรียกสมาสตัวที่วิเคราะห์ท้ายสุดเป็นสมาสใหญ่ แล้วเรียกสมาสที่เหลือตามลำดับมา ว่าเป็นภายใน

 

  • Author: admin
  • Hits: 8796





 


45795908
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
3676
56169
227487
45235495
454960
1019588
45795908

Your IP: 35.173.48.18
2024-10-11 02:06
© Copyright pariyat.com 2024. by กองทะเบียนและสารสนเทศ

Search